เคมี
วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559
3.8 ธาตุและสารประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
3.8.1 ธาตุอะลูมิเนียม
อะลูมิเนียมพบมาในเปลือกโลกประมาณ
7.5% โดยมวล รูปของสารประกอบ เช่น บอกไซต์ ไครโอไลต์ โลหะอะลูมิเนียมเตรียมได้จากการหลอมเหลวแร่บอกไซต์แล้วแยกด้วยกระแสไฟฟ้าจะได้โลหะอะลูมิเนียมที่แคโทด
โลหะอะลูมิเนียมมีสีเงิน มีความหนาแน่นต่ำ เหนียวและแข็ง ดัดโค้งงอได้
ทุบให้เป็นแผ่นหรือดึงเป็นเส้นได้ อ่านเพิ่มเติม
3.7 การทำนายตำแหน่งและสมบัติของธาตุในตารางธาตุ
(8).jpg)
การศึกษาสมบัติของธาตุตามตารางธาตุ จะช่วยในการทำนายสมบัติของธาตุได้
ถ้ารู้ตำแหน่งของธาตุนั้นในตารางธาตุหรือถ้ารู้สมบัติบางประการของธาตุอาจพิจารณาตำแหน่งของธาตุได้
ดังตัวอย่างการจัดตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนที่ศึกษามาแล้ว
ต่อไปนักเรียนจะใช้ข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติของธาตุมาทำนายตำแหน่งของธาตุในตารางธาตุได้จากตัวอย่าง อ่่านเพิ่มเติม
3.6 ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุอีกกลุ่มหนึ่งในตารางธาตุซึ่งมีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เคยศึกษามาแล้ว
กล่าวคือสามารถแผ่รังสีแล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้
ในปี ค.ศ. 1896 (พ.ศ.2439) อองตวน อองรีแบ็กเกอเรล นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส พบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียม ฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสง และเมื่อ อ่านเพิ่มเติม
ในปี ค.ศ. 1896 (พ.ศ.2439) อองตวน อองรีแบ็กเกอเรล นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส พบว่าเมื่อเก็บแผ่นฟิล์มถ่ายรูปที่หุ้มด้วยกระดาษสีดำไว้กับสารประกอบของยูเรเนียม ฟิล์มจะมีลักษณะเหมือนถูกแสง และเมื่อ อ่านเพิ่มเติม
3.5 ธาตุกึ่งโลหะ
กึ่งโลหะ (metalloid) มีธาตุที่เป็นกึ่งโลหะ 8 ธาตุได้แก่โบรอน ซิลิกอน เจอร์มาเนียม
อาร์เซนิก พลวง พอโลเนียม และเอสทาทีน เป็นธาตุที่มีสมบัติระหว่างธาตุโลหะและอโลหะ
ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
3.4 ธาตุแทรนซิชัน
ธาตุแทรนซิชันเหล่านี้มีอยู่ทั้งในธรรมชาติและได้จากการสังเคราะห์
บางธาตุเป็นธาตุกัมมันตรังสีธาตุแทรนซิชันมีสมบัติดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
3.3 ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ
โดยทั่วๆ
ไปการจัดธาตุให้อยู่ในหมู่เดียวกันจะใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนและสมบัติของธาตุเป็นเกณฑ์
ถ้ามีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากัน สำหรับไฮโดรเจนมีเลขอะตอมเท่ากับหนึ่ง
เมื่อพิจารณาการจัดเรียงอิเล็กตรอน จะพบว่ามีเวเลนต์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 และอยู่ในระดับพลังงานแรก
ซึ่งถ้าใช้เวเลนต์อิเล็กตรอนเป็นเกณฑ์ควรจะจัดให้ไฮโดรเจนอยู่ใน อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)